วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556

เพลงที่ฉันชอบ



เหตุที่ชอบเพลงนี้  เพราะคนเราจะทำอะไรให้ทำให้สุดผลจะออกเป็นไงก็ชั่งมัน ขอให้เราทำเต็มที่ก็พอ

(ฝันไกลใช้ว่าจะไปไม่ถึงขอแค่พยายาม)

วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ข่าวล่าสุด ประจำเดือน สิงหาคม

Windows 8.1 เริ่มให้ใช้ทั่วโลก ตุลาคมนี้

    การประกาศอย่างเป็นทางการในวันนี้นับเป็นช่วงเวลาที่ครบรอบ 1 ปี หลังจาก Windows 8 เปิดตัวไปเมื่อปีที่แล้ว แม้อัตราการเติบโตของ Windows 8 จะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่นั่นก็ไม่ได้ทำให้ Microsoft พึงพอใจเท่าที่ควร บวกกับอุปกรณ์ที่รัน Windows 8 ยังไม่สามารถตีตลาดได้ตามเป้าหมายด้วยปัจจัยของสินค้าที่ยังมีอยู่น้อยเกินไป ด้วยเหตุผลต่างๆนาๆ ทำให้ Microsoft จึงตัดสินใจออกอัพเดตระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ที่ชื่อ Windows 8.1 ด้วยระยะเวลายังไม่ถึง 1 ปี นับเป็นการเปลี่ยนโฉมการออกรุ่นใหม่ของ Windows ที่แต่เดิมมักออกทุก 2-3 ปีครั้ง ซึ่งกว่าจะมาเป็น Windows 8.1 ได้ทาง Microsoft ได้มีการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้หลังได้สัมผัส Windows 8 นั่นจึงเป็นที่มาของการรีเทิร์นของ "ปุ่ม Start" ที่กลับประจำการในตำแหน่งที่เราคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี


    นอกจากการปรับฟีเจอร์ต่างๆให้ใช้สะดวกต่อผู้ใช้แล้ว Microsoft ยังแสดงให้เห็นว่า Windows 8.1 สามารถรองรับการทำงานบนแท็บเล็ตขนาด 7 นิ้วจนถึง 10.6 นิ้วได้ และเป็นที่มาของข่าวลือของ Surface รุ่น 2 ขนาด 7-8 นิ้วที่ Microsoft กำลังพัฒนาอยู่ในขณะนี้

ทั้งนี้การเปิดให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไปได้อัพเดตเป็น Windows 8.1 ในวันที่ 18 ตุลาคมนี้ น่าจะมีอุปกรณ์ที่รองรับกับระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ตามมาอีกเช่นกัน ก็ต้องคอยติดตามว่าจะเป็น Surface รุ่น 2 อย่างที่มีข่าวมาในระยะหลังๆหรือไม่



วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Moore's law

Moore's law คืออะไร

                กฏของมัวร์ หรือ Moore's   law  คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี  Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ง Intel  ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม semiconductor  นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ moore's law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของ ทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้นMoore predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไปการก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

                   กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์(Moore’s law) ขึ้น  ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม




กฎของมัวร์ (Moore's Law)   

            ในปี .2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งทีประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ


             .2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง  ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม

             การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบเทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี .2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
        
               คําว่า กฎของมัวร์” นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์   Caltech   นามว่า    Carver Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965  ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975


วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ (Parity Bit)

สรุปบิตตรวจสอบ

ถ้าหากจำนวนบิตที่เป็นเลขคี่ (รวมทั้งแพริตีบิต) เปลี่ยนไปจากปกติในการส่งผ่านกลุ่มบิตข้อมูล แสดงว่าแพริตีบิตนั้นไม่ถูกต้อง และแสดงให้เห็นว่าเกิดความผิดพลาดในการส่งผ่านข้อมูล ดังนั้นแพริตีบิตจึงสามารถใช้เป็นรหัสตรวจหาความผิดพลาด แต่ไม่เป็นรหัสแก้ไขความผิดพลาด เนื่องจากไม่สามารถวิเคราะห์ได้ว่าบิตไหนบ้างที่ข้อมูลผิดไปจากเดิม รู้แต่เพียงว่าเกิดขึ้นเท่านั้น และเมื่อความผิดพลาดเกิดขึ้นแล้ว ข้อมูลทั้งหมดจะต้องถูกละทิ้งและส่งผ่านมาใหม่ตั้งแต่ต้นโดยอัตโนมัติ ถ้าหากสื่อที่ใช้ส่งผ่านมีสัญญาณแทรกซ้อนมาก การส่งผ่านข้อมูลให้สำเร็จจึงอาจต้องใช้ระยะเวลานาน หรือถึงขั้นไม่สำเร็จไปเลย อย่างไรก็ตาม แพริตีบิตก็มีข้อดีตรงที่เป็นรหัสตรวจสอบที่ใช้เนื้อที่เพิ่มเพียงบิตเดียว และใช้เกต XOR เพียงไม่กี่ตัวเพื่อสร้างบิตนั้นขึ้นมา     การตรวจสอบแพริตีบิตจะใช้กับการส่งผ่านข้อมูอักขระแอสกีในบางโอกาส เนื่องจากอักขระแอสกีมีแค่เจ็ดบิต และอีกหนึ่งบิตที่เหลือก็ใช้เป็นแพริตีบิตได้พอดี

สำหรับบิตตรวจสอบ จะมีวิธีการตรวจสอบอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ 

1. การตรวจสอบบิตภาวะคู่ (Even Parity)

2. การตรวจสอบบิตภาวะคี่ (Odd Parity)

รหัส ASCII , Unicode

   ASCII เป็นรูปแบบปกติของไฟล์ข้อความ (text file) ในคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ในไฟล์ ASCII อักษรแต่ละตัว ตัวเลข หรืออักษรพิเศษ จะได้รับการแสดงด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่งสามารถใช้ระบุตัวอักษรได้ 128 ตัว

          ระบบ ปฏิบัติการ UNIX และ DOS (ยกเว้น Windows NT) ใช้ ASCII สำหรับไฟล์ข้อความ ระบบ Windows NT ใช้รหัสแบบใหม่ คือ Unicode ในระบบ IBM 390 ใช้รหัส 8 หลัก เรียกว่า extended binary-decimal interchange code โปรแกรมแปลงยินยอมให้ระบบปฏิบัติที่แตกต่างกันแปลงไฟล์จากรหัสหนึ่งเป็น อีกรหัสหนึ่ง
ASCII ได้รับการพัฒนาโดย American National standards institute ( ANSI)
แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ  (อังกฤษASCII: American Standard Code for Information Interchange)เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น


    ที่มา   http://www.com5dow.com

ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) [1]
ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์
ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์กและระบบปฏิบัติการสมัยใหม่
ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2)
   แหล่งที่มา    http://th.wikipedia.org

SUJINDA CHAMNANYON


แทนด้วยรหัส ASCII 

        S=01010011 
U=01010101 
J=01001010 
I=01001001 
N=01001110 
D=01000100 
A=01000001 
C=01000011 
H=01001000 
A=01000001 
M=01001101 
N=01001110 
A=01000001 
N=01001110 
Y=01011001 
O=01001111 
N=01001110
มีพื้นที่    132 ไบต์   17  บิต 





วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 1 ประวัติคอมพิวเตอร์ (ข้อ 2)

ใบงานที่ 1

ประวัิติคอมพิวเตอร์



2.ประวัติความเป็นของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็นยุค ๆ ตามช่วงเวลา และมีเหตุการณ์สำคัญๆ รวมถึงจุดเปลี่ยนแปลงเด่น ๆ ให้นัักศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล และสรุปสาระสำคัญ 


 - ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์อุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาค้นคว้าและการทำธุรกิจ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทำให้องค์กรต่างๆ นำเทคโนโลยีเหล่านี้เข้ามาช่วยในการดำเนินงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกิจและให้บริการบนอินเตอร์เน็ต ตลอดจนการใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการทำงาน ไม่เพียงแต่ในองค์กรต่างๆ เท่านั้นที่นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ผู้ใช้ตามบ้านโดยทั่วไป ก็ได้จัดหาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ส่วนตัวกันมากขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งสามารถใช้งานได้ง่ายกว่าในอดีตมาก จนมีการประมาณการกันว่า ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในทุกๆ ครัวเรือนเหมือนกับเครื่องรับโทรทัศน์ ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว การเรียนรู้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้น จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในการทำงานการศึกษาหรือเพื่อความบันเทิง ให้มีประสิทธิภาพและความสะดวกเพิ่มมากขึ้น คอมพิวเตอร์มีข้อดีอย่างไร ? มนุษย์เราจึงได้นำมาใช้งานกันอย่างกว้างขวาง ก่อนที่จะตอบคำถามนี้ได้ เราต้องทราบคุณสมบัติพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เสียก่อน ซึ่งมีอยู่ 5 ประการที่สำคัญดังนี้

1. ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic machine)
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการบันทึกข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ การจัดเก็บข้อมูลที่บันทึกผ่าน
ทางแป้นพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถ
ประมวลผลได้ และเมื่อคอมพิวเตอร์ประมวลผลเรียบร้อยแล้ว ข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกแปลงกลับให้เป็นรูปแบบที่
มนุษย์สามารถเข้าใจได้
2. การทำงานด้วยความเร็วสูง (speed)
เนื่องจากการทำงานของคอมพิวเตอร์เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นการดำเนินงานต่างๆ จึงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็ว
(มากกว่าพันล้านคำสั่งในหนึ่งวินาที)
3. ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้ (accuracy and reliability)
คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งที่มนุษย์เขียนโปรแกรมหรือคำสั่งไว้ ถ้าผู้ใช้ป้อนข้อมูลและชุดคำสั่งมีความถูกต้อง ผลลัพธ์
ที่ได้จากการประมวลผลก็จะมีความถูกต้องเชื่อถือได้
4. การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก (storage)
คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่บันทึกเข้าไป ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของ
คอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะมีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่สามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่าหนึ่ง
ล้านตัวอักษร
5. การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล (communication)
คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ และสามารถทำงานที่หลากหลายมากขึ้นกว่าการใช้
คอมพิวเตอร์แบบระบบเดี่ยว ตัวอย่างเช่น การนำคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นข้อมูลจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์อื่น (remote computer)
จากคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์เราจะเห็นได้ว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานหลายๆ อย่างที่มนุษย์ไม่สามารถทำได้ หรือถ้ามนุษย์ทำได้ ก็จะใช้เวลามากและมีข้อผิดพลาดมากมาย เช่น การคำนวณตัวเลขหลายหลักเป็นจำนวนมากภายในเวลาจำกัดการทำงานในแบบเดียวกันซ้ำๆ หลายล้านครั้ง หรือการจดจำข้อมูลตัวเลขและตัวหนังสือหลายหมื่นหน้าโดยไม่มีการลืม งานที่น่าเบื่อและยุ่งยากเหล่านี้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานแทนได้ โดยเรามีหน้าที่เพียงเป็นผู้สั่งการเท่านั้น


                ในการทำงานของคอมพิวเตอร์ จะมีขั้นตอนการทำงานพื้นฐาน 4 ขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วย การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงผล และการจัดเก็บข้อมูล หรือที่เรียกย่อๆ ว่า IPOS (Input Process Output Storage cycle)
                        
1.รับข้อมูล (input) คอมพิวเตอร์จะทำหน้าที่รับข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่นิยมใช้ใน
ปัจจุบัน ได้แก่ แป้นพิมพ์ (keyboard) และเมาส์ (mouse)

2. ประมวลผล (process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้ว จะทำการประมวลผลตามโปรแกรมหรือคำสั่งที่กำหนด
เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น

3. แสดงผล (output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่
แสดงผลที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์(printer) เป็นต้น

4. จัดเก็บข้อมูล (storage) คอมพิวเตอร์จะทำการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) แผ่น
ฟลอบปี้ดิสก์ (floppy disk) เป็นต้น



Credit : http://ku-scmicro36bkk.tripod.com/0.0.htm


วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 1 ประวัติคอมพิวเตอร์ (ข้อ 1)

ใบงานที่ 1

ประวัติคอมพิวเตอร์

1.บุคคลต่อไปนี้ มีความสำคัญอย่างไร ในประวัติความเป็นมาของคอมพิเตอร์ จงอธิบาย โดยระบุถึงปีที่เกิดเหตุการณ์ และผลงานที่สำคัญ


a. Charles Babbage

เกิดปี ค.ศ. 1791 (พ.ศ. 2334) ที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร แบบบิจเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นมหาอำนาจ และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ทุนการพัฒนาในสาขาต่าง ๆ อย่างเต็มที่. แบบบิจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่คณะคณิตศาสตร์ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ  ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ สามารถคำนวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่นต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ การทำงานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคำนวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้ำหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คำนวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ

b. Lady Augusta Ada Byron


เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) หลังจากเธอเกิดไม่นาน พ่อแม่ของเธอก็แยกทางกัน แม่ของเอดา จึงตัดสินใจเลี้ยงดูเธอให้เป็นผู้หญิงสมัยใหม่ และให้ศึกษาด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ต่างไปจากกุลสตรีในตระกูลใหญ่ๆ ของอังกฤษ ทั่วไป ในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า "what if a calculating engine could not only foresee but could act on that foresight" (จะเป็นอย่างไร ถ้าหากเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถหยั่งรู้ได้ หากแต่สามารถตอบสนองต่อการหยั่งรู้นั้นได้ด้วย) ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้ของแบบบิจเลย ยกเว้นเอดา ซึ่งเธอรู้สึกสนใจในงานนี้เป็นอย่างมาก จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือ การสร้างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบบเบจอีกร้อยกว่าปีต่อมา ในปี พ.ศ.2522(ค.ศ. 1979) กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ สร้างภาษาคอมพิวเตอร์มาตรฐาน ISO ขึ้นมาตัวแรก พร้อมตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ เลดี้ เอดา ว่า ภาษา "ADA"



c.Herman Hollerith

เป็นชาวอเมริกัน เกิด ค.ศ.1860 ตาย ค.ศ. 1929 เป็นผู้คิดเอาวิธีนำเอาระบบบัตรเจาะรูมาใช้ในการบันทึกข้อมูลลงในบัตร โดยเลียนแบบจากบัตรของแจ็กการ์ด (Jacquard) ซึ่งเคยใช้วิธีการนี้ควบคุมการให้ลายและพิมพ์สีลงบนผ้า ฮอลเลอริทได้สร้างรหัสสำหรับบัตรเจาะรูขึ้น แล้วจึงนำข้อมูลถ่ายลงบนบัตรเพื่อนำไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่าน เครื่องมือประดิษฐ์ของฮอลเลอริทนี้ได้นำมาใช้ในงาประมวลผลและรายงานผลสำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาในปีค.ศ. 1890 ซึ่งทำให้ทราบผลลัพธ์เร็วขึ้นมาก โดยสามารถทำเสร็จภายในเวลาเพียง 2 ปีเท่านั้น ในปัจจุบัน การเจาะบัตรเพื่อส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์นั้นเกือบจะไม่มีแล้ว เพราะล้าสมัย



d.Alan Turing

 เป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย. บิดาและมารดาของทัวริง พบกัน และทำงานที่ประเทศอินเดีย เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุกๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ
หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริงๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้


e.Konrad Zuse

22 มิถุนายน 1910 - 18 ธันวาคม 1995) เป็นเยอรมันวิศวกรโยธานักประดิษฐ์และผู้บุกเบิกคอมพิวเตอร์ ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาคือคนแรกของโลกการทำงานโปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ทัวริงสมบูรณ์ Z3 ซึ่งกลายเป็นที่การดำเนินงานพฤษภาคม 1941 ขอบคุณไปยังเครื่องนี้และรุ่นก่อนเขาได้รับการออกแบบครั้งแรกที่การเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง Plankalkül  [7] ในปี 1969 Zuse แนะนำแนวคิดของจักรวาลการคำนวณที่ใช้ในหนังสือของเขา Rechnender Raum (อวกาศคำนวณ)
มากของงานแรกของเขาเป็นทุนจากครอบครัวและการพาณิชย์ของเขา มีแบบจำลองของ Z3 เช่นเดียวกับต้นฉบับ Z4 ใน Deutsches พิพิธภัณฑ์ในมิวนิคDeutsches Technikmuseum ในเบอร์ลินมีการจัดนิทรรศการที่อุทิศให้กับ Zuse แสดงสิบสองของเครื่องของเขารวมถึงแบบจำลองของ Z1 และอีกหลายภาพวาดของ Zuse ของ

f. Prof.Howard H.Aiken

 (8 มีนาคม 1900 - 14 มีนาคม 1973) เป็นผู้บุกเบิกในการคำนวณการออกแบบแนวคิดเดิมที่อยู่เบื้องหลังของไอบีเอ็มคอมพิวเตอร์ฮาร์วาร์ Mark I เขาได้พบสมการเชิงอนุพันธ์ว่าเขาสามารถแก้ตัวเลข เขามองเห็นภาพเครื่องคอมพิวเตอร์กลไฟฟ้าที่สามารถทำมากของการทำงานที่น่าเบื่อสำหรับเขา คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ แต่เดิมเรียกว่า ASCC (ลำดับอัตโนมัติควบคุมเครื่องคิดเลข) และต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นฮาร์วาร์ทำเครื่องหมาย I. ด้วยวิศวกรรมการก่อสร้างและการระดมทุนจาก IBM, เครื่องเสร็จสมบูรณ์แล้วและติดตั้งอยู่ที่ฮาร์วาร์ในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 เขาได้รับเลือก Fellow ของอเมริกันสถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ในปี 1947. [6] เขาได้รับจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซินแมดิสันวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์รางวัลวันวิศวกรในปี 1958, แฮร์รี่ได้รับรางวัลเอชกู๊ดอนุสรณ์ในปี 1964, จอห์นราคา Wetherill เหรียญในปี 1964 และเหรียญอีอีอีเอดิสัน 'สำหรับอาชีพรับรางวัลผลงานเป็นผู้บุกเบิกการพัฒนาและการประยุกต์ใช้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และการมีส่วนร่วมสำคัญในการศึกษาในสาขาคอมพิวเตอร์ดิจิตอล. ในปี 1970




g. Dr.John V.Atanasoff & Clifford Berry

ชาวบัลแกเรียฝรั่งเศสและไอริชเกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 1903 ในแฮมิลตัน, นิวยอร์กเพื่อเป็นวิศวกรไฟฟ้าและครูในโรงเรียน พ่อของอาตาของอีวานอาตาเกิดใน 1876 ในหมู่บ้าน Boyadzhik ใกล้กับ Yambol, บัลแกเรีย ในขณะที่อีวานยังคงเป็นเด็กพ่อของตัวเองของอีวานถูกฆ่าตายโดยทหารออตโตมันหลังจากที่เมษายนกบฏบัลแกเรีย ใน 1889, อีวาน Atanasov อพยพไปยังประเทศสหรัฐอเมริกากับลุงของเขา แม่ของอาตาของ Iva ลูเซนาจังเป็นครูของคณิตศาสตร์จอห์นวินเซนต์อาตา (4 ตุลาคม 1903 - 15 มิถุนายน 1995) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกันและนักประดิษฐ์ที่รู้จักกันดีสำหรับการประดิษฐ์ครั้งแรกของดิจิตอลคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์   อาตาคิดค้นครั้งแรกของดิจิตอลคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ในช่วงทศวรรษที่ 1930 ที่มลรัฐไอโอวาวิทยาลัย ความท้าทายในการอ้างสิทธิของเขามีการแก้ไขในปี 1973 เมื่อ Honeywell คดีโวลต์สเปอร์รีแรนด์ปกครองที่อาตาเป็นนักประดิษฐ์ของคอมพิวเตอร์ เครื่องวัตถุประสงค์พิเศษของเขาได้มาจะเรียกว่าอาตา คอมพิวเตอร์-Berry




h.Dr.John W.Mauchly & J.Presper Eckert

คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกสร้างขึ้นภายใต้เงื่อนไขที่จำแนกรอยร่วมกันเพื่อสนับสนุนสหรัฐอเมริกามีความทะเยอทะยานทางทหารในปีสงครามฉีกขาดของสงครามโลกครั้งที่สองนักอุตุนิยมวิทยาที่ต้องการและบัณฑิตวิทยาลัยล่าสุดร่วมในการออกแบบและสร้าง Integrator ENIAC-อิเล็กทรอนิกส์เชิงตัวเลขและคอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยจาก University of Pennsylvania มัวร์โรงเรียนวิศวกรรม เรื่องราวของ ดร. จอห์นดับบลิว Mauchly และเจ Presper Eckert แสดงให้เห็นว่าการบรรจบกันของความคิดทางคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยวิจัยและการทดลองในสหรัฐอเมริกานำประเทศเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสารในช่วงหลังจากที่การสร้าง ENIAC เจ้าหน้าที่ประสานงานกองทัพโครงการเฮอร์แมน Goldstine จะสะท้อนให้เห็นถึง "เราทั้งคู่ยังเด็กและหลวมตัวเรารู้สึกเหมือนโปรแกรมสงครามทั้งขึ้นอยู่กับเรา  ก็มีความรู้สึกที่แท้จริงที่เรากำลังทำ. สิ่งที่พิเศษมาก ๆ 



i. Dr. John Von Neumann

เป็นชาวฮังการีเกิดอเมริกันนักคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และประยุกต์และพหูสูต เขาเป็นผู้บุกเบิกการประยุกต์ทฤษฎีประกอบไปกลศาสตร์ควอนตัในการพัฒนาของการวิเคราะห์การทำงานของสมาชิกที่สำคัญของโครงการแมนฮัตตันและสถาบันการศึกษาขั้นสูงในพรินซ์ตัน (เป็นหนึ่งในไม่กี่คนที่ได้รับการแต่งตั้งเดิม) และเป็นคนสำคัญ ในการพัฒนาของทฤษฎีเกม  และแนวคิดของเซลล์ออโต สร้างสากลและดิจิตอลคอมพิวเตอร์  ในรายการสั้นของข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชีวิตของเขาที่เขาส่งไปยังสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติ แต่เขา "ส่วนหนึ่งของการทำงานของฉันผม พิจารณาที่สำคัญที่สุดก็คือในกลศาสตร์ควอนตัมซึ่งพัฒนาขึ้นในGöttingenในปี 1926 และต่อมาในกรุงเบอร์ลินใน 1927-1929 ยังทำงานในรูปแบบต่างๆของทฤษฎีประกอบ, เบอร์ลิน 1930 และพรินซ์ตัน 1935-1939 ของฉัน. เมื่อทฤษฎีบทอัตลักษณ์พรินซ์ตัน , 1931-1932. "พร้อมกับ Teller และ Stanislaw Ulam ฟอนนอยมันน์ออกไปทำงานตามขั้นตอนที่สำคัญในฟิสิกส์นิวเคลียร์ที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยาแสนสาหัสและระเบิดไฮโดรเจน สุดท้ายของงาน, ต้นฉบับยังไม่เสร็จเขียนในขณะที่อยู่ในโรงพยาบาลและเผยแพร่ต่อไปในรูปแบบหนังสือเป็นคอมพิวเตอร์ และสมองจะช่วยให้บ่งบอกถึงทิศทางของความสนใจของเขาในช่วงเวลาของการตายของเขา



j. Dr.Ted Hoff

ตอนอายุ 15 เขาจะเดินทางไปกรุงวอชิงตันดีซีและทุนการศึกษา $ 400 จากค้นหาเวสติวิทยาศาสตร์สามารถในช่วงฤดู​​ร้อนห่างจากวิทยาลัยเขาทำงานทั่วไปสัญญาณของ บริษัท รถไฟในโรเชสเตอร์ที่เขาได้รับการออกแบบสองวงจรที่ผลิตสิทธิบัตรของเขาสองคนแรก. (4) หนึ่งรถไฟตรวจพบวงจรผ่านความถี่เสียงที่ส่งไปตามเส้นทางรถไฟ อีกหนึ่งพลังงานที่ดูดซับเพื่อป้องกันฟ้าผ่า เข้าไป Stanford เป็นเพื่อนแห่งชาติมูลนิธิวิทยาศาสตร์ในปี ค.ศ. 1955  ระหว่างกันยายน 1968 และเมษายน 1969 เทดฮอฟฟ์เริ่มพัฒนาครอบครัวของชิปให้กับ บริษัท เครื่องคิดเลขญี่ปุ่น ชิปเหล่านี้ถูกออกแบบมาสำหรับเครื่องคิดเลขที่จะออกมาภายใต้แบรนด์ที่เรียกว่า Busicomเมื่อตอนที่เขาแนะนำให้วิศวกรญี่ปุ่นที่จะทำให้การใช้งานที่ดีขึ้นของหน่วยความจำโดยลดความซับซ้อนของการทำงานที่ญี่ปุ่นไม่ได้สนใจในการทำการเปลี่ยนแปลง แต่บ๊อบ Noyce บอกเขาว่าสแตนและมาซูร์จะไปข้างหน้าและสิ่งที่ส่งผลให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทั่วไป เท็ดฮอฟฟ์ยังได้พัฒนาชุดคำสั่งสำหรับคอมพิวเตอร์ว่าสิ่งที่เป็นหลักกลายเป็นชุดคำสั่งสำหรับไมโครโปรเซสเซอร์ 4004 ตั้งแต่ทั้งฮอฟฟ์และมาซูไม่ค่อยจะรู้เรื่องของเทคโนโลยี CMOS มันเป็น Federico Faggin ได้รับชิปซิลิกอนในปี 1971 ความสำเร็จ  อินเทล 4004: Intel 4004 คอมพิวเตอร์ "" บนชิปร่วมคิดค้น




k. Steve Job & Steve Wazniak

ชื่อในสูติบัตรของ Wozniak คือ "สเตฟานแกรี่ Wozniak" แต่แม่ของสตีฟบอกว่าเธอตั้งใจว่าจะสะกดคำว่า "สตีเฟ่น" และ "สตีเฟ่น" คือสิ่งที่เขาใช้ Wozniak ได้รับการอ้างถึงบ่อยครั้งโดยฉายา "Woz" หรือ "Woz" "Woz" (ย่อมาจาก "ล้อของซุส") ยังเป็นชื่อของ บริษัท ที่ก่อตั้งขึ้น Wozniak ในช่วงต้นยุค 70 เขาเป็นที่รู้จักกันว่า "เบิร์กลีย์สีฟ้า" ในชุมชน phreak โทรศัพท์ Wozniak ได้พบกับสตีฟจ็อบส์เมื่อ Homestead นักเรียนมัธยมเพื่อนบิลนันแนะนำให้รู้จักกับพวกเขากับแต่ละอื่น ๆ ในปี 1970 พวกเขากลายเป็นเพื่อนร่วมงานเมื่อทำงานให้กับฤดูร้อนที่ Hewlett-Packard (HP) ที่ Wozniak กำลังทำงานอยู่บนคอมพิวเตอร์เมนเฟรม.  ในปี 1971 หนึ่งปีหลังจากที่ลงทะเบียนเรียน Wozniak ถอนตัวออกจากมหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนียเบิร์กลีย์ ในปี 1976 Wozniak พัฒนาคอมพิวเตอร์ที่ในที่สุดก็จะทำให้เขามีชื่อเสียง ด้วยตัวเองเขาออกแบบฮาร์ดแวร์การออกแบบแผงวงจรและระบบปฏิบัติการสำหรับแอปเปิ้ลที่หนึ่งได้ [9] ด้วยการออกแบบแอปเปิ้ลผมและเขาได้รับงานส่วนใหญ่ทำงานเพื่อสร้างความประทับใจให้สมาชิกคนอื่น ๆ ของพาโลอัลโตตามคลับคอมพิวเตอร์ Homebrew ท้องถิ่น กลุ่ม hobbyists อิเล็กทรอนิกส์มีความสนใจในการคำนวณ คลับเป็นหนึ่งในศูนย์ที่สำคัญหลายซึ่งเป็นที่ยอมรับในบ้านยุคอดิเรกเป็นหลักในการสร้างอุตสาหกรรมไมโครคอมพิวเตอร์ในช่วงหลายปี ซึ่งแตกต่างจากการออกแบบ Homebrew อื่น ๆ ที่แอปเปิ้ลมีที่ง่ายต่อการบรรลุความสามารถในวิดีโอที่ดึงฝูงชนเมื่อมันถูกเปิดตัว.




l. Bill Gates

วิลเลียมเฮนรีเกตส์ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อบิลเกตส์เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน ๆ 8800 เขาได้ร่วมกับพอลแอลเลนก่อตั้งไมโครซอฟท์คอร์ปอเรชันขึ้น และหัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้บิลเกตส์ บิลเกตส์เกิดที่เมืองซีแอทเทิลรัฐวอชิงตันเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955 บิดาชื่อนายวิลเลียมเอ็ชเกตส์จูเนียร์มีอาชีพนักกฎหมายของ บริษัท มารดาชื่อแมรีแมกซ์เวลเกตส์เป็นสมาชิกคณะกรรมการของเบิร์กไชร์ฮาธาเวย์, F​​irst Interstate ธนาคารแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือของเบลล์และคณะกรรมการ แห่งชาติของสหรัฐทางชื่อเต็มของเขาคือวิลเลียมเฮนรีเกตส์ที่สามปู่ของเขาคือวิลเลียมเฮนรีเกตส์ซีเนียร์เกตส์เข้าศึกษาที่โรงเรียนเลคไซด์ บิลเกตส์กับพอลอัลเลนเพื่อนสนิท ต่อมาบิล เขามีโอกาสได้ทำความรู้จักกับสตีฟบาลเมอร์ เขาได้ร่วมกับพอลอัลเลนเขียนต้นแบบภาษาอัลแตร์เบสิก 8800 70) เพื่อใช้ในการเรียนการสอน เกตส์สมรสกับเมลินดาเฟรนช์เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1994 ทั้งคู่มีบุตรด้วยกันสามคนเจนนิเฟอร์แคทารีนเกตส์ (เกิดเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1996) โรรีจอห์นเกตส์ (เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคมค. ศ . 1999) และฟีบีอาเดลเกตส์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 2002)ในปี ค.ศ. 1994 บิลเกตส์ได้ม้วนกระดาษไลเชสเตอร์ซึ่งรวบรวมงานเขียนของเลโอนาร์โดดาวินชีมาไว้ในครอบครองและในปี ค.ศ. 2003ในปี ค.ศ. 1997 ของนายอดัมควินน์เพลตเชอร์ชาวเมืองชิคาโก ค.ศ. 1998 และถูกจำคุกเป็นเวลา 6 ปีต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 เกตส์ถูกนายโนเอล

Credit : http://th.wikipedia.org/wiki/

วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สถานที่ท่องเที่ยวในภูเก็ต

สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำภูเก็ต

เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตทางทะเลมีทั้งพันธุ์สัตว์น้ำจืดและน้ำเค็มมากกว่า 150 ชนิด อุโมงค์ยาว 8 เมตร ตู้สัตว์น้ำเค็ม เช่น ปลาการ์ตูน ปลา้ม้าลาย ปลานกแก้ว ฉลามต่าง ๆ กุ้ง หอย ปู แมงกะพรุน ปะการัง และดอกไม้ทะเล ตู้สัตว์น้ำจืด เช่น ปลาปิรันย่า ปลาบึก       ปลาตะพัด ปลาสุมาตรา ปลาไหลไฟฟ้า หุ่นจำลอง เช่น ฉลามครีบกำ พะยูน ปลากระโทงแทง ปลาวาฮู ฯลฯ นิทรรศการ แสดงการเจริญเิติบโต ของสัตว์ต่าง ๆ เช่น กุ้งมังกร มีกิจกรรมดำน้ำทุก เสาร์-อาทิตย์ 11.00-11.30 น. ให้อาหารสัตว์น้ำ ค่าเข้าชมผู้ใหญ่ 50 บาท เด็ก 20 บาท สำหรับคนไทย

มุมด้านหน้า
บริเวณแสดงพันธุ์น้ำจืด

เมื่อเข้าไปภายในสถานแสดงพันธุ์ฯ ก็จะพบกับปลาหลากหลายชนิด ที่มีความสวยงาม เช่น ปลาเสือสุมาตรา ปลาฟลาวเวอร์ฮอร์น หรือ ที่รู้จักกันในแบบไทยๆ ว่า ปลาหมอสี แต่ที่ประทับใจ และชอบมากคือ ได้เห็นปลาชนิดหนึ่งแปลกมาก... เพราะสามารถมองทะลุ เห็นได้ถึงก้างมันเลยแต่น่าเสียดายที่ไม่มีป้ายบอกชื่อ แต่คิดว่าชื่อให้ว่าปลาเอ็กซ์เรย์ หรือ ปลาซีทรู น่าจะเหมาะ

ปลาซีทรู

ปลาหมอสี











เกี่ยวกับตัวฉัน

สวัสดีคราฟ ^^ !!

ขอต้อนรับเข้าสู่ บล๊อคของ นาย สุจินดา ชำนาญยนต์
สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุระกิจ
คณะ วิทยาการจัดการ
มหาลัยวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


E-mail : l2etune@hotmail.com